คนจนเมืองไม่ได้อยู่แค่ในชุมชนแออัด แต่ยังเห็นในพื้นที่อื่น ๆ คนจนเมืองแต่ละกลุ่มเผชิญปัญหาและมีวิถีชีวิตในมิติที่แตกต่างกันไป แต่ก็มีความเชื่อมโยงและทับซ้อนกัน นี่คือสาเหตุความจนของคนจนเมือง ที่บางส่วนได้ถูกเล่าผ่านเรื่องราวชีวิตในงานชิ้นนี้
ความพยายามแก้ปัญหาที่ผ่านมา อาจยังไม่เพียงพอที่จะพาคนจนเมืองออกจากวังวนปัญหาในชีวิตได้
กรุงเทพมหานคร. การประชุมคณะผู้บริหารกรุงเทพมหานคร ผู้บริหารสำนักเทศกิจ และหัวหน้าฝ่ายเทศกิจสำนักงานเขต ครั้งที่ 2/2567. 29 กุมภาพันธ์ 2567.
ณัฐพงศ์ เปรมพูลสวัสดิ์ และ จาตุรงค์ โพคะรัตน์ศิริ. (2561). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการค้าหาบเร่แผงลอยกับลักษณะเชิงพื้นที่ของเมือง กรณีศึกษา: ย่านรามคำแหง กรุงเทพมหานคร. คณะสถาปัตยกรรมและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ชัยยุทธ ปัญญสวัสดิ์สุทธิ์, ดวงมณี เลาวกุล, สุดาพร ปานกลิ่น,ณัฐชา ก๋องแก้ว, ดลภัค ชัยบุตร และ พงศ์ทัศ วนิชานันท์. (2561). บัญชีรายจ่ายด้านการศึกษาแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ 2551-2559. โครงการพัฒนาระบบการจัดการทรัพยากร เพื่อพัฒนาสุขภาพและการศึกษาของนักเรียน. หน้า 152-153
อรรถสิทธิ์ ศรีสุบัติ, ฬุฬีญา โอชารส, บุษกร โลหารชุน, อุไรรัตน์ ศิริวัฒน์เวชกุล, วิไล คุปต์นิรัติศัยกุล และ สุประวีณ์ โอภาเฉลิมพันธุ์. (2562). ต้นทุน-ประสิทธิผลของการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองหลังระยะเฉียบพลันด้วยรูปแบบการดูแลระยะกลางแบบผู้ป่วยใน (intermediate care) เปรียบเทียบกับการฟื้นฟูสมรรถภาพแบบผู้ป่วยนอก. วารสารกรมการแพทย์, 44(5). หน้า 170.
สุปรียา หวังพัชรพล, สักรินทร์ แซ่ภู่, ณัฐวุฒิ อัศวโกวิทวงศ์, ปนายุ ไชยรัตนานนท์, เทียมสูรย์ สิริศรีศักดิ์ และ กฤษณะ แพทย์จะเกร็ง (2560). ชุดโครงการวิจัยความเหลื่อมล้ำและคนจนเมือง. สํานักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม.