Quote

บทเรียน 8 ปี  ขบวนการภาคประชาชน : นพ.นิรันดร์ พิทักษ์วัชระ

บทเรียน 8 ปี ขบวนการภาคประชาชน : นพ.นิรันดร์ พิทักษ์วัชระ

29 สิงหาคม 2022

สิทธิชุมชน นวัตกรรมสำคัญในการปกป้องคุ้มครองทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมตั้งแต่รัฐธรรมนูญ2540 เป็นสิทธิร่วมชุมชนท้องถิ่น ชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม มีสิทธิใช้ประโยชน์และบริหารจัดการที่ดิน-ป่า-ลุ่มน้ำ-ทะเลชายฝั่งและสินแร่ นโยบายของรัฐบาลชุดนี้สวนทางกับการพัฒนามั่นคงและยั่งยืน สิ่งที่ชาวบ้านเรียกร้องกำลังถูกการทำงานของรัฐบาล 8 ปี ทำร้ายและทำลาย

บทเรียน เหมือง การต่อสู้ไม่สิ้นสุด ? :สุภาภรณ์ มาลัยลอย

บทเรียน เหมือง การต่อสู้ไม่สิ้นสุด ? :สุภาภรณ์ มาลัยลอย

18 สิงหาคม 2022

ตอบโจทย์คนในชุมชนไหม? เราจะมองเรื่องเหมืองแร่ แยกจากการพัฒนาภาพใหญ่ไม่ได้

บทเรียน เหมือง การต่อสู้ไม่สิ้นสุด ? :จุฑามาส ศรีหัตถผดุงกิจ

บทเรียน เหมือง การต่อสู้ไม่สิ้นสุด ? :จุฑามาส ศรีหัตถผดุงกิจ

18 สิงหาคม 2022

“เหมือง” ความคุ้มค่าวัดจากตรงไหน? มูลค่าเม็ดเงิน ที่แลกกับการปนเปื้อนของสารพิษ ความหวาดหวั่นที่วิถีชีวิตดั้งเดิมจะหายไป . จะมีหนทางไหน ที่เสียงของประชาชนจะสะท้อนถึงผู้มีอำนาจ บทเรียนจากการสร้างเหมืองกับปัญหาคาราคาซังจะจบอย่างไร?

จากกรุงโซล สู่กรุงเทพฯ วิกฤตโลกแปรปรวน : ยศพล บุญสม

จากกรุงโซล สู่กรุงเทพฯ วิกฤตโลกแปรปรวน : ยศพล บุญสม

15 สิงหาคม 2022

เราตามไม่ทันกับตัวเร่งที่ทำให้เกิดภัยพิบัติ หากเราจะพึ่งพาเพียงทรัพยากรของกทม. อำนาจของกทม.ก็มีจำกัด การบูรณาการที่ดินร้างในเมือง มาเป็น missionของการทำเมืองให้อยู่ร่วมกับภัยพิบัติได้ ไม่ใช่แค่กทม. แต่ต้องเป็นรัฐบาลที่ต้องออกนโยบายมาทำงานร่วมกัน แม้ตอนนี้จะมีจุดเริ่มต้นที่ดี แต่ต้องมีความเข้มข้นมากขึ้น

จากกรุงโซล สู่กรุงเทพฯ วิกฤตโลกแปรปรวน : ผศ.สิตางศุ์ พิลัยหล้า

จากกรุงโซล สู่กรุงเทพฯ วิกฤตโลกแปรปรวน : ผศ.สิตางศุ์ พิลัยหล้า

15 สิงหาคม 2022

ปัจจัยวิเคราะห์ความเปราะบาง เรื่องฝนเป็นภัยธรรมชาติที่บังคับไม่ได้ ความหนาแน่นการจราจร ความหนาแน่นผู้คน ประสิทธิภาพการกำจัดขยะ ประสิทธิภาพระบบระบาย เอามาเข้าฟังก์ชั่น FVI (Flood vulnerability index) ตรงไหนสูงทำตรงนั้นก่อน..

คุยกันหลังดูสารคดี “สำรับชาติพันธุ์” (Ethnic cuisine)

คุยกันหลังดูสารคดี “สำรับชาติพันธุ์” (Ethnic cuisine)

11 สิงหาคม 2022

จากสำรับชาติพันธุ์ สู่ความมั่นคงทางอาหารคนเมือง ร่วมสะท้อนมุมมองต่อความมั่นคงทางอาหารที่หลากหลายของชาติพันธุ์

สันติภาพต้องไม่ผูกขาด ? : ดวงหทัย บูรณเจริญกิจ

สันติภาพต้องไม่ผูกขาด ? : ดวงหทัย บูรณเจริญกิจ

8 สิงหาคม 2022

ทั้งรอมฎอนเพื่อสันติและเข้าพรรษาต่างใช้ศาสนาเป็นจุดอ้างอิง . ในแง่อัตลักษณ์กับความรุนแรง นักมานุษยวิทยาเป็นห่วงกันว่า หากอัตลักษณ์เข้มข้นมากขึ้น แม้จะทำให้เสียงเราดัง แต่หากเข่นกันก็เป็นอันตราย

สันติภาพต้องไม่ผูกขาด ? :รุ่งรวี เฉลิมศรีภิญโญรัช

สันติภาพต้องไม่ผูกขาด ? :รุ่งรวี เฉลิมศรีภิญโญรัช

8 สิงหาคม 2022

การสื่อสารสาธารณะ สื่อมีบทบาทสำคัญยิ่ง กระบวนการสันติภาพ กระบวนการสันติสุขเป็นทิศทางที่สำคัญ ปัญหาภาคใต้ไม่ใช่แค่ปัญหาของคน 3 จังหวัด ชายแดนใต้ แต่เป็นปัญหาที่คนในประเทศไทยควรจะต้องรับรู้ และมีส่วนให้ความคิดเห็น ปัญหาภาคใต้ควรเป็นวาระแห่งชาติ

‘สำรับชาติพันธุ์’ ความมั่นคงหลากหลาย บนความหวัง ‘กฎหมายชาติพันธุ์’

‘สำรับชาติพันธุ์’ ความมั่นคงหลากหลาย บนความหวัง ‘กฎหมายชาติพันธุ์’

7 สิงหาคม 2022

สภาชนเผ่าพื้นเมืองแห่งประเทศไทย  ร่วมกับ Thai PBS, The Active ภาคีเครือข่ายชนเผ่าพื้นเมือง จัดกิจกรรมรณรงค์สาธารณะเนื่องใน "วันชนเผ่าพื้นเมืองแห่งประเทศไทย ประจำปี 2565" ภายใต้หัวข้อ "สานพลังคุ้มครองวิถีชีวิต ส่งเสริมสิทธิชนเผ่าพื้นเมือง"

เปิดวิสัยทัศน์ ทีม ส.ก. ก่อนปูพรมสำรวจเด็กหลุดระบบการศึกษา

เปิดวิสัยทัศน์ ทีม ส.ก. ก่อนปูพรมสำรวจเด็กหลุดระบบการศึกษา

4 สิงหาคม 2022

สก.จากหลากหลายพรรค เล่าถึงกลไกรูปธรรมของการช่วยสำรวจข้อมูลเด็ก ๆ ก่อนนำไปสู่ขั้นตอนการแปรเป็นงบประมาณเพื่อลดปัญหาความเหลื่อมล้ำ ระบบการศึกษา

วิกฤตลุ่มน้ำเจ้าพระยา น้ำท่วมกรุงเทพฯและปริมณฑลจะแก้ยังไง? : กาจวิศว์ กล้าหาญ

วิกฤตลุ่มน้ำเจ้าพระยา น้ำท่วมกรุงเทพฯและปริมณฑลจะแก้ยังไง? : กาจวิศว์ กล้าหาญ

1 สิงหาคม 2022

เมื่อเกิดน้ำท่วม กทม.สิ่งแรกที่ทุกคนคิดคือควรพยายามช่วยเหลือใช้พื้นที่ บ่อ แหล่งกักเก็บน้ำในอาคารบ้านเรือน ซับน้ำก่อนที่น้ำจะไปถึงเส้นเลือดใหญ่ที่เป็นอุโมงค์