Visual note taking

หนทางสู่ ‘เมืองเป็นธรรม’ ที่ประชาชนเข้าถึงได้

หนทางสู่ ‘เมืองเป็นธรรม’ ที่ประชาชนเข้าถึงได้

14 พฤษภาคม 2022

ด้วยอำนาจและหน้าที่ 'ผู้ว่าฯ กทม.' ลดความเหลื่อมล้ำได้จริงหรือ ?

ระดมข้อเสนอ : สู่เมือง (ระบบ) สุขภาพดี

ระดมข้อเสนอ : สู่เมือง (ระบบ) สุขภาพดี

11 พฤษภาคม 2022

he Active ร่วมกับ เครือข่ายปลุกกรุงเทพฯ ระดมสมองผ่านเวทีสาธารณะ “เมือง (ระบบ) สุขภาพดี” ร่วมสะท้อนปัญหา และแนวทางแก้ไขระบบสุขภาพเขตเมืองในพื้นที่ กทม.

ผู้ว่าฯ กทม. จะทำให้กรุงเทพฯ เป็น “เมืองทันสมัย” ได้อย่างไร?

ผู้ว่าฯ กทม. จะทำให้กรุงเทพฯ เป็น “เมืองทันสมัย” ได้อย่างไร?

8 พฤษภาคม 2022

ตัวแทนผู้สมัครฯ ที่เข้าร่วมแลกเปลี่ยนใน “Bangkok Active Forum: ฟังเสียงกรุงเทพฯ” ครั้งที่ 3 หัวข้อ “เมืองทันสมัย” มองหน้าตาของ Smart City อย่างไร เพื่อให้เมืองหลวงของไทยเดินไปสู่จุดนั้น

Smart & Tools: 4 นวัตกรรม สู่เมืองฉลาดและทันสมัย

Smart & Tools: 4 นวัตกรรม สู่เมืองฉลาดและทันสมัย

6 พฤษภาคม 2022

พื้นที่แห่งการเรียนรู้ การพัฒนา และการใช้งานเครื่องมือด้านข้อมูลและเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาเมืองหลวง จากเครือข่ายภาคประชาชน องค์กรเอกชน ฯลฯ ยังมีอีกมากมาย

ฝันถึงเมืองทันสมัย: จากคน Smart สู่เมือง Smart

ฝันถึงเมืองทันสมัย: จากคน Smart สู่เมือง Smart

5 พฤษภาคม 2022

ชวนฟังเสียงกรุงเทพฯ จากผู้คนที่ร่วมสะท้อนในเวที “Bangkok Active: ฟังเสียงกรุงเทพฯ” ครั้งที่ 3 หัวข้อ “เมืองทันสมัย” ว่าพวกเขามีคำถามและข้อเสนอเพื่อออกแบบเชิงนโยบายให้ถึงมือผู้สมัครผู้ว่าฯ กทม. อย่างไร

“มหานครแห่งความทันสมัย” หน้าตาแบบไหน?

“มหานครแห่งความทันสมัย” หน้าตาแบบไหน?

4 พฤษภาคม 2022

ชวนฟังเสียงกรุงเทพฯ จากผู้คนที่ร่วมสะท้อนในเวที "Bangkok Active: ฟังเสียงกรุงเทพฯ" ครั้งที่ 3 หัวข้อ “เมืองทันสมัย” ว่าพวกเขาให้นิยามกับ "มหานครแห่งความทันสมัย" ไว้อย่างไร ก่อนจะร่วมตกผลึกผ่านกิจกรรมและวงสนทนาเพื่อออกแบบเชิงนโยบายให้ถึงมือผู้สมัครผู้ว่าฯ กทม.

ปลดล็อก “เทศบัญญัติ กทม.” เพิ่มอำนาจ ประสานงาน สร้าง “เมืองปลอดภัย”

ปลดล็อก “เทศบัญญัติ กทม.” เพิ่มอำนาจ ประสานงาน สร้าง “เมืองปลอดภัย”

28 เมษายน 2022

วิเคราะห์นโยบายเมืองปลอดภัย โดย ผศ.ทวิดา กมลเวชช คณะรัฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ เกิดขึ้นในงาน Bangkok Active Forum: ฟังเสียงกรุงเทพฯ ครั้งที่ 2 ในหัวข้อ “เมืองปลอดภัย” ที่ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร โดย เครือข่ายปลุกกรุงเทพฯ เพื่อออกแบบข้อเสนอเชิงนโยบาย ส่งถึงมือผู้สมัครผู้ว่าฯ กทม.

กิจกรรม “ปลุก” คนเมือง เพื่อมหานครที่ปลอดภัย

กิจกรรม “ปลุก” คนเมือง เพื่อมหานครที่ปลอดภัย

27 เมษายน 2022

“ความปลอดภัยไม่ได้หมายถึงสิ่งปลูกสร้าง อย่าง ไฟส่องสว่าง กล้องวงจรปิด แต่รวมถึงความรู้สึกปลอดภัยระหว่างการใช้ชีวิตในที่สาธารณะของกรุงเทพฯ ด้วย”

เมืองปลอดภัย 6 มิติ ที่คนกรุงเทพฯ อยากเห็น

เมืองปลอดภัย 6 มิติ ที่คนกรุงเทพฯ อยากเห็น

26 เมษายน 2022

ปัญหาอาชญากรรมและยาเสพติด ปัญหาอุบัติเหตุ ปัญหาภัยพิบัติ อุบัติภัยจากการก่อสร้าง อาหารปลอดภัย และสุขภาพปฐมภูมิของกลุ่มเปราะบาง ซึ่งเป็นเป้าหมายที่กำหนดไว้ตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี

‘ความปลอดภัยสาธารณะ ต้องมาเป็นที่ 1’ ถามใจ ผู้สมัคร ผู้ว่าฯ กทม.

‘ความปลอดภัยสาธารณะ ต้องมาเป็นที่ 1’ ถามใจ ผู้สมัคร ผู้ว่าฯ กทม.

25 เมษายน 2022

เปิดนโยบาย "เมืองปลอดภัย" จาก 8 ผู้สมัครผู้ว่าฯ กทม. ในงาน Bangkok Active Forum: ฟังเสียงกรุงเทพฯ ครั้งที่ 2

ชวน (ว่าที่) ผู้ว่าฯ ออกแบบอนาคตเมืองด้วยพื้นที่อาหาร

ชวน (ว่าที่) ผู้ว่าฯ ออกแบบอนาคตเมืองด้วยพื้นที่อาหาร

24 เมษายน 2022

เมื่อวิกฤตอาหาร ส่งผลต่ออนาคตความมั่นคงทางอาหารของเมือง นี่จึงเป็นโจทย์ใหญ่ของว่าที่ผู้บริหาร กทม. ในวาระของคนกรุงเทพฯ ที่กำลังร่วมออกแบบอนาคตเมืองผ่านเรื่องพื้นที่อาหาร

สำรวจนโยบาย “เมืองน่าอยู่เพื่อคนรุ่นใหม่” ผู้สมัครผู้ว่าฯ กทม.  มีอะไรไม่ให้วัยรุ่นเซ็ง

สำรวจนโยบาย “เมืองน่าอยู่เพื่อคนรุ่นใหม่” ผู้สมัครผู้ว่าฯ กทม. มีอะไรไม่ให้วัยรุ่นเซ็ง

18 เมษายน 2022

เมื่อถามเด็กและเยาวชนผู้มีฝัน มีหลายประเด็นที่คนรุ่นใหม่ให้ความหวังกับการเลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม. ครั้งนี้ เพื่อปลุกกรุงเทพฯ เป็นเมือง “น่าอยู่ มีความหวัง และมีอนาคต” โดยพวกเขาพร้อมเป็นส่วนหนึ่งสร้างการเปลี่ยนแปลง เพื่อเปิดประตูสู่โอกาสเข้าถึงเมือง